max959.com

เทคโนโลยี ทาง ดีเอ็นเอ สรุป – เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ (วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ม.4 บทที่ 4) | ตัวอย่าง เทคโนโลยี ชีวภาพเนื้อหาที่เกี่ยวข้องทั้งหมดที่สมบูรณ์ที่สุด

การทำฟาร์มสัตว์เพื่อสุขภาพมนุษย์โดยการใช้เทคโนโลยี DNA ในการผลิตสัตว์ทำให้หมูมีเนื้อมากขึ้น แต่มีไขมันต่ำลง วัวให้เนื้อหรือนมได้มากขึ้น หรือผลิตสัตว์ที่เจริญเติบโตให้ผลรวดเร็ว 2. การสร้างพืชดัดแปลงพันธุกรรม (transgenic plant) เพื่อให้เป็นไปตามความต้องการของมนุษย์ เช่น ต้านทานแมลงได้ดีขึ้น ต้านทานโรคได้ดีขึ้น ให้ผลผลิตมากขึ้น มีคุณค่าทางอาหารเพิ่มขึ้น ตัวอย่างพืชดัดแปลงพันธุกรรม ได้แก่ 2. 1 พืชดัดแปลงพันธุกรรมที่มีความสามารถในการต้านทานแมลง ทำได้โดยการใช้ยีนที่สร้างสารพิษของแบคทีเรียบีที (Bacillus thuringiensis) ถ่ายใส่ให้แก่พืชพวกฝ้าย ข้าวโพด มะเขือเทศ ยาสูบ มันฝรั่ง ทำให้พืชสามารถสร้างสารพิษทำลายตัวอ่อน หนอนแมลงบางชนิดได้อย่างเฉพาะเจาะจงโดยไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นหรือคน ทำให้ผลผลิตของพืชมากขึ้น ดีขึ้น และใช้สารเคมีในการกำจัดแมลงน้อยลง 2. 2 พืชดัดแปลงพันธุกรรมต้านทานโรค เช่น การนำจีนที่ต่านทานโรคที่เกิดจากไวรัส ถ่ายใส่ให้กับพืช เช่น มะละกอ มันฝรั่ง ยาสูบ ทำให้พืชต้านทานโรค ซึ่งเกิดจากไวรัสมาทำลายได้ 2. 3 พืชดัดแปลงพันธุกรรมต้านทานสารปราบวัชพืช เช่น การนำยีนใส่ให้กับถั่วเหลือง ข้าวโพด ฝ้าย ทำให้ต้านทานสารปราบศัตรูพืชได้ จึงกำจัดวัชพืชได้ง่ายขึ้น 2.

เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ สรุป

"เปลี่ยนชีวะฯ จากวิชาท่องจำ เป็นวิชาที่สนุก มีเรื่องราว มีเหตุผล" เนื้อหาทั้งหมดรวม 14 ชั่วโมง หนังสือประกอบการเรียนสรุปเนื้อหาและตัวอย่างโจทย์ เลือกเรียนได้ เรียนซ้ำกี่ครั้งก็ได้ภายใน 6 เดือน ถ้าอยากรู้ว่าชีววิทยาที่แท้จริงเป็นยังไง ต้องเรียน เมื่อเรียนจบมั่นใจว่านักเรียนจะได้ concept ที่ถูกต้องของชีววิทยาแน่นอน ไม่ผิดพลาด และ เมื่อเข้าใจชีววิทยาจริงๆ จะสนุกกับการเรียน จดจำได้ด้วยความเข้าใจทำให้ท่องน้อยกว่าคนอื่น สามารถใช้ทำเกรดที่โรงเรียน และพร้อมต่อยอดไปสู่การสอบแข่งขันอื่นๆ ในอนาคต ดร. ศุภณัฐ ไพโรหกุล (อ. อุ้ย) ผู้เขียนหนังสือชีววิทยายอดนิยม Biology, Essential Biology, Mock-Up Biology Exams, Biology The Problems Book อาจารย์ประจำภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาเอก PhD in Marine Science and Technology, Newcastle University, UK อาจารย์พิเศษในโรงเรียนต่างๆ เช่น สวนกุหลาบวิทยาลัย, สตรีวิทยา, บดินทรเดชา วิทยากรบรรยายชีววิทยา PAT2 ของ Brands Summer Camp ตั้งแต่ 2557 ถึงปัจจุบัน ต้องการเรียนกี่ครั้งต่อสัปดาห์? 1 ต้องการเรียนคอร์สนี้ให้จบภายใน? เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ 01:59:11 คอร์สออนไลน์นี้เพื่อใช้ส่วนตัวเท่านั้น สงวนสิทธิ์การเผยแพร่หรือส่งต่อสิทธิการเรียน อ่านเพิ่มเติม

เมื่อ: วันศุกร์, 11 พฤษภาคม 2561 โดย: สาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย สื่อการเรียนรู้ดิจิทัลแสดงการใช้เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอในการสร้างกุหลาบสีน้ำเงินซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม โดยแสดงขั้นตอนต่าง ๆ ในการสร้างสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรมและเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอที่ใช้ในแต่ละขั้นตอน พร้อมวีดิทัศน์และแอนิเมชันเพื่อใช้ประกอบการเรียนรู้ หัวเรื่อง และคำสำคัญ สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม, GMO, พันธุวิศวกรรม, genetic engineering, เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ, DNA technology, กุลาบสีน้ำเงิน ลิขสิทธิ์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท. ) สาขาวิชา/กลุ่มสาระวิชา ชีววิทยา ระดับชั้น ม. 4 กลุ่มเป้าหมาย ครู นักเรียน ดูเพิ่มเติม เพิ่มในรายการโปรด คุณอาจจะสนใจ Hits (102022) เป็นเกมที่ฝึกทักษะการวางแผนการทำงานการคิดอย่างเป็นระบบ การสังเกต และการนำเสนอแบบรูป สามารถสรุปแบบรู... Hits (103029) เป็นกิจกรรมที่เน้นให้ผู้เล่นได้ฝึกฝนด้านการคิดอย่างมีเหตุผล อีกทั้งยังช่วยกระตุ้นและพัฒนาสมองให้คิด... Hits (97239) KEN KEN เป็นเกมปริศนาทางคณิตศาสตร์ที่นักเรียนในหลายระดับชั้นหรือประชาชนทั่วไปสามารถเข้าใจวิธีการเล่...

พันธุวิศวกรรม (genetic engineering) หมายถึง หมายถึง กระบวนการทางชีววิทยาที่เกี่ยข้องกับการตัดต่อยีนจากสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งเข้ากับยีนของสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง เพื่อให้ได้ยีนที่มีสมบัติตามที่ต้องการ และขยายยีนให้มีปริมาณมากพอที่จะนำไปทำให้ผลผลิตมีคุณภาพดีขึ้น และได้ปริมาณการผลิตสูงขึ้น ตามต้องการ สิ่งมีชีวิตที่ได้จากกระบวนการทางพันธุวิศวกรรมเรียกว่า สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม หรือ GMOs(genetically modified organisms) ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ 1. ด้านเกษตร การขยายพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์สัตว์และพืชโดยใช้เทคนิคต่างๆ การคัดเลือกพันธุ์ผสม การโคลนนิ่ง การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การใช้พันธุวิศวกรรม การฝากถ่ายตัวอ่อน 2. ด้านอุตสาหกรรม = ผลผลิตจากด้านเกษตรกรรม, การใช้จุลินทรีย์ และการปรับปรุงสายพันธุ์จุลินทรีย 3. ด้านอาหาร = เป็นผลพลอยได้จากด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรร 4. ด้านการแพทย์ = การผลิตฮอร์โมน การผลิตวัคซีน วิตามินและยาปฏิชีวนะที่มีคุณภาพดี, ปลอดภัยและมีปริมาณที่มากพอสำหรับผู้ป่วย, การตรวจสอบสภาวะพันธุกรรมของโรคต่างๆ จากการผลิตชิ้นส่วนของยีน, การแก้ไขภาวะผิดปกติและการรักษาโรคต่างๆ ที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม, จากการทำาแผนที่ยีน การรักษาด้วยยีนหรือยีนบกาบำบัด สื่อ Power Point เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยี DNA สื่อ Clip VDO เรื่อง พันธุศาสตร์และเทคโนโลยี DNA

เทคโนโลยี DNA กับความปลอดภัยทางชีวภาพและชีวจริยธรรม Flashcards | Quizlet

  • โน้ตของมัธยมปลาย เกี่ยวกับ - Clearnote
  • Wave 110i 2021 ราคา
  • โปรแกรม แก้ไข pdf ออนไลน์ ฟรี
  • DNA สำคัญอย่างไร - NSTDA
  • Tablet apple ราคา series
  • ใบ งาน ภาษา ไทย ป 4 ภาษา พา ที
  • หวย ช่อง เก้า สุภัสสรา
  • ม.4 โน้ตของ ชีววิทยา - Clearnote

4 บทที่ 4) คุณสามารถค้นหาเนื้อหาเพิ่มเติมด้านล่าง รับชมเพิ่มเติมได้ที่นี่ ข้อเสนอแนะบางประการเกี่ยวกับตัวอย่าง เทคโนโลยี ชีวภาพ #เทคโนโลยทางดเอนเอ #วทยาศาสตรชวภาพ #ม4 #บทท. [vid_tags]. เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ (วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ม. 4 บทที่ 4). ตัวอย่าง เทคโนโลยี ชีวภาพ. เราหวังว่าเนื้อหาบางส่วนที่เราให้ไว้จะเป็นประโยชน์กับคุณ ขอบคุณมากสำหรับการดูเนื้อหาตัวอย่าง เทคโนโลยี ชีวภาพของเรา Laurie Hurlock Laurie Hurlock เป็นบล็อกเกอร์ที่แบ่งปันความรู้และบล็อกที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยซึ่งปัจจุบันจัดการเว็บไซต์ Mukilteo Montessori นี้ หัวข้อในเว็บไซต์ของเรารวมถึงการศึกษาหลักสูตรความรู้การเรียนรู้และข้อมูลที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ ที่ ของเราคุณจะพบข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อการศึกษาหลักสูตรการเรียนรู้และอื่น ๆ